• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content

Menu

  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ

คลังเก็บ

  • มิถุนายน 2025
  • พฤษภาคม 2025
  • เมษายน 2025
  • มีนาคม 2025
  • กุมภาพันธ์ 2025
  • มกราคม 2025
  • ธันวาคม 2024
  • พฤศจิกายน 2024
  • ตุลาคม 2024
  • กันยายน 2024
  • สิงหาคม 2024
  • กรกฎาคม 2024
  • มิถุนายน 2024
  • พฤษภาคม 2024
  • เมษายน 2024
  • มีนาคม 2024
  • กุมภาพันธ์ 2024
  • มกราคม 2024
  • พฤศจิกายน 2023
  • ตุลาคม 2023

Calendar

มิถุนายน 2025
จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส. อา.
 1
2345678
9101112131415
16171819202122
23242526272829
30  
« พ.ค.    

หมวดหมู่

  • ข่าวอวกาศ
  • คนไทยในวงการอวกาศ
  • ความรู้รอบตัว
  • ดวงจันทร์
  • ดวงอาทิตย์
  • ดาราศาสตร์
  • ดาวพฤหัสบดี
  • ดาวพุธ
  • ดาวยูเรนัส
  • ดาวศุกร์
  • ดาวอังคาร
  • ดาวเคราะห์แคระ
  • ดาวเนปจูน
  • ดาวเสาร์
  • ตำนานวงการอวกาศ
  • ทั่วไป
  • นักดาราศาสตร์
  • นักบินอวกาศ
  • นักบินอวกาศและบุคคลสำคัญ
  • ระบบสุริยะ
  • ระบบสุริยะของเรา
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
  • หน่วยงานอวกาศ
  • เทคโนโลยีจรวด
  • เทคโนโลยีอวกาศ
  • โครงการอะพอลโล
  • โลก

Copyright SPACEMAN 2025 | Theme by ThemeinProgress | Proudly powered by WordPress

SPACEMAN
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
You are here :
  • Home
  • ข่าวอวกาศ
  • ท้องฟ้าเหนือกล้องโทรทรรศน์ ELT
19 พฤษภาคม 2025

ท้องฟ้าเหนือกล้องโทรทรรศน์ ELT

ข่าวอวกาศ Article

ภาพถ่ายความคืบหน้าของสถานที่ก่อสร้างกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ที่สุดในโลกของ ESO หรือหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรป (European Southern Observatory) ที่มีชื่อว่า กล้องโทรทรรศน์เอ็กซ์ตรีมลาร์จเทเลสโคป (Extremely Large Telescope: ELT) ซึ่งตั้งอยู่ในทะเลทรายอาตากามา (Atacama Desert) ประเทศชิลี

ภาพนี้ถ่ายเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าของการก่อสร้าง โดมมีประตูยักษ์สองบานที่จะเปิดออกในเวลากลางคืน และโครงสร้างของประตูทั้งสองบานก็ติดตั้งเรียบร้อยแล้ว

ทางด้านขวาสุดของภาพ เราจะเห็นแสงเลเซอร์สีส้มสว่างพุ่งขึ้นไปบนท้องฟ้า เลเซอร์เหล่านี้ไม่ได้มีไว้เพื่อยิงใส่ดาวตก หรือผู้รุกรานจากอวกาศ แต่จริงๆ แล้วมันเป็นส่วนหนึ่งของระบบปรับแก้ความพร่าเลือนของชั้นบรรยากาศ (adaptive optics system) ของกล้องโทรทรรศน์เวรีลาร์จเทเลสโคป (Very Large Telescope: VLT) ซึ่งทำหน้าที่สร้างดาวนำทางประดิษฐ์ (artificial guide stars) เพื่อแก้ไขการรบกวนของอากาศในชั้นบรรยากาศของโลก และช่วยให้นักดาราศาสตร์ได้ภาพที่คมชัดที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้

เลเซอร์ทำงานโดยการกระตุ้นอะตอมของโซเดียม (sodium) ในชั้นบรรยากาศส่วนบน ซึ่งอยู่ในชั้นที่สูงจากพื้นดินประมาณ 90 กิโลเมตร และอะตอมเหล่านี้ถูกสะสมไว้ที่นั่นโดยอุกกาบาต


เครดิตภาพและข้อมูล: ESO

You may also like

เผยภาพแรกของขั้วใต้ดวงอาทิตย์จากยานโซลาร์ออร์บิเตอร์

สเปซเอ็กซ์เลื่อนส่งภารกิจ Axiom-4 หลังพบรอยรั่วในจรวดฟอลคอน 9 พร้อมภารกิจ “ไก่ไทยไปอวกาศ”

จีนเผยแพร่ภาพแรกของยานสำรวจเทียนเวิ่น 2 เดินทางไปสำรวจดาวเคราะห์น้อย 2016 HO3

จำนวนเข้าชม: 41

เรื่องยอดนิยม

  • 9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (3,908)
  • บัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,295)
  • จีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,813)
  • ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,762)
  • SpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,625)

© SPACEMAN มนุษย์อวกาศ | Theme by ThemeinProgress | Proudly powered by WordPress