• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content

Menu

  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ

คลังเก็บ

  • พฤษภาคม 2025
  • เมษายน 2025
  • มีนาคม 2025
  • กุมภาพันธ์ 2025
  • มกราคม 2025
  • ธันวาคม 2024
  • พฤศจิกายน 2024
  • ตุลาคม 2024
  • กันยายน 2024
  • สิงหาคม 2024
  • กรกฎาคม 2024
  • มิถุนายน 2024
  • พฤษภาคม 2024
  • เมษายน 2024
  • มีนาคม 2024
  • กุมภาพันธ์ 2024
  • มกราคม 2024
  • พฤศจิกายน 2023
  • ตุลาคม 2023

Calendar

พฤษภาคม 2025
จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส. อา.
 1234
567891011
12131415161718
19202122232425
262728293031  
« เม.ย.    

หมวดหมู่

  • ข่าวอวกาศ
  • คนไทยในวงการอวกาศ
  • ความรู้รอบตัว
  • ดวงจันทร์
  • ดวงอาทิตย์
  • ดาราศาสตร์
  • ดาวพฤหัสบดี
  • ดาวพุธ
  • ดาวยูเรนัส
  • ดาวศุกร์
  • ดาวอังคาร
  • ดาวเคราะห์แคระ
  • ดาวเนปจูน
  • ดาวเสาร์
  • ตำนานวงการอวกาศ
  • ทั่วไป
  • นักดาราศาสตร์
  • นักบินอวกาศ
  • นักบินอวกาศและบุคคลสำคัญ
  • ระบบสุริยะ
  • ระบบสุริยะของเรา
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
  • หน่วยงานอวกาศ
  • เทคโนโลยีจรวด
  • เทคโนโลยีอวกาศ
  • โครงการอะพอลโล
  • โลก

Copyright มนุษย์อวกาศ 2025 | Theme by ThemeinProgress | Proudly powered by WordPress

มนุษย์อวกาศ
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
You are here :
  • Home
  • ข่าวอวกาศ
  • ยาน Europa Clipper ของ NASA จับภาพดาวอังคารด้วยรังสีอินฟราเรด
14 พฤษภาคม 2025

ยาน Europa Clipper ของ NASA จับภาพดาวอังคารด้วยรังสีอินฟราเรด

ข่าวอวกาศ Article

ขณะมุ่งหน้าสู่ยูโรปา (Europa) ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี ยานอวกาศยูโรปา คลิปเปอร์  (Europa Clipper) ขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ หรือ NASA  ได้ถือโอกาสแวะชมและบันทึกภาพดาวอังคาร  เพื่อปรับเทียบอุปกรณ์ถ่ายภาพรังสีอินฟราเรด

ภาพดาวอังคารนี้เป็นภาพที่สร้างขึ้นจากการนำภาพถ่ายหลายภาพ ซึ่งบันทึกโดยอุปกรณ์ถ่ายภาพความร้อนของยาน ยูโรปา คลิปเปอร์ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2568 บริเวณที่สว่างเป็นบริเวณที่มีอุณหภูมิค่อนข้างอุ่น โดยมีอุณหภูมิประมาณ 32 องศาฟาเรนไฮต์ (0 องศาเซลเซียส) ส่วนบริเวณที่มืดกว่าจะมีอุณหภูมิต่ำกว่า บริเวณที่มืดที่สุดที่ด้านบนคือบริเวณขั้วโลกเหนือ ซึ่งมีอุณหภูมิประมาณ -190 องศาฟาเรนไฮต์ (-125 องศาเซลเซียส)

ข้อมูลที่ได้จากการบันทึกภาพนี้ จะช่วยให้นักวิทยาศาสตร์ของภารกิจ สามารถปรับเทียบอุปกรณ์ถ่ายภาพความร้อนของยานอวกาศ ให้มั่นใจได้ว่าอุปกรณ์ทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ เมื่อยานยูโรปา คลิปเปอร์ เดินทางถึงระบบดาวพฤหัสบดีในปี ค.ศ. 2030

ภารกิจหลักของยานยูโรปา คลิปเปอร์ คือการสำรวจยูโรปา ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีมหาสมุทรทั่วโลกซ่อนอยู่ใต้พื้นผิวน้ำแข็ง หลังจากโคจรเข้าสู่ดาวพฤหัสบดีได้หนึ่งปี ยาน Europa Clipper จะเริ่มปฏิบัติการบินผ่านดวงจันทร์ยูโรปาในระยะใกล้ จำนวน 49 ครั้ง เพื่อตรวจสอบว่าดวงจันทร์แห่งนี้มีสภาวะที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตหรือไม่

องค์ประกอบสำคัญของการสำรวจนี้คือการถ่ายภาพความร้อน ซึ่งเป็นการสแกนพื้นผิวโลกของยูโรปาทั้งหมด เพื่อทำแผนที่อุณหภูมิและไขปริศนาว่าพื้นผิวของดวงจันทร์มีความเคลื่อนไหวมากน้อยเพียงใด การถ่ายภาพรังสีอินฟราเรดจะเผยให้เห็นปริมาณความร้อนที่แผ่ออกมาจากดวงจันทร์ โดยบริเวณที่อุ่นกว่าของน้ำแข็งจะปล่อยพลังงานออกมามากกว่า ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงความเคลื่อนไหวล่าสุด

นอกจากนี้ การถ่ายภาพยังช่วยให้นักวิทยาศาสตร์ทราบว่ามหาสมุทรอยู่ใกล้กับพื้นผิวมากที่สุดที่บริเวณใด ยูโรปามีลักษณะเป็นสันเขาและรอยแตกมากมาย ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าเกิดจากการพาความร้อนของมหาสมุทรที่ดึงเปลือกน้ำแข็งให้แยกออกจากกัน และน้ำที่ไหลขึ้นมาเติมเต็มช่องว่าง


ข้อมูลอ้างอิง: NASA

  • NASA’s Europa Clipper Captures Mars in Infrared

You may also like

ยานไกอาเผยภาพมุมสูงของกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา

“แผ่นดินไหวบนดาวอังคาร” ชี้ร่องรอยน้ำใต้เปลือกดาวเคราะห์แดง

โอกาสทองเยาวชนไทย! JAXA ขยายเวลารับสมัคร Kibo Robot Programming Challenge ชิงแชมป์โลกที่ญี่ปุ่น

จำนวนเข้าชม: 19
Tags: ดาวอังคาร, ยาน Europa Clipper, ยานอวกาศยูโรปา คลิปเปอร์

โครงการ The 6th Kibo-RPC

เรื่องยอดนิยม

  • 9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (3,574)
  • บัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,213)
  • จีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,776)
  • ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,727)
  • SpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,576)

© SPACEMAN มนุษย์อวกาศ | Theme by ThemeinProgress | Proudly powered by WordPress