• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content

SPACEMAN

มนุษย์อวกาศ​ พาท่องโลกดาราศาสตร์และอวกาศ

Primary Menu
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
Follow us
  • Home
  • ระบบสุริยะ
  • ดวงจันทร์ไททัน ดวงจันทร์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีชั้นบรรยากาศ
  • ดาวเสาร์
  • ระบบสุริยะ

ดวงจันทร์ไททัน ดวงจันทร์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีชั้นบรรยากาศ

มนุษย์อวกาศ 13 กรกฎาคม 2024
Titan

ดวงจันทร์ไททัน (Titan) ของดาวเสาร์ มีความน่าสนใจตรงที่เป็นดวงจันทร์เพียงดวงเดียวใน #ระบบสุริยะ ที่มีชั้นบรรยากาศ โดยชั้นบรรยากาศที่หนาแน่นประกอบด้วยไนโตรเจนเป็นส่วนใหญ่ เหมือนกับชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกของเรา บนพื้นผิวไททันก็มีน้ำแข็งและหินเช่นเดียวกับพื้นผิวโลก แต่ไม่อาจสังเกตเห็นได้เพราะถูกบดบังด้วยชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างแสงแดดกับก๊าซมีเทนและไนโตรเจน

พื้นผิวของไททันมีอุณหภูมิติดลบ 179 องศาเซลเซียส ซึ่งทำให้มีเทนและอีเทนกลายเป็นของเหลว สร้างทะเลสาบและแม่น้ำที่เป็นของเหลวมีเทนและอีเทน

การที่มีน้ำแข็งอยู่บนดวงจันทร์ไททัน จึงทำให้มีสภาพคล้ายกับโลกในยุคแรกก่อนมีสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้น จึงเป็นไปได้ว่าหากวันหนึ่งดวงอาทิตย์ร้อนขึ้นหรือกลายเป็น #ดาวยักษ์แดง น้ำแข็งบนดวงจันทร์ไททันก็จะละลายและอาจเกิดสิ่งมีชีวิตขึ้นเหมือนกับโลก แต่ต้องรออีกไม่ต่ำกว่า 5 พันล้านปี

ซึ่งการศึกษาชั้นบรรยากาศของดวงจันทร์ไททัน ช่วยทำให้เรามีความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับกระบวนการเคมี ที่อาจคล้ายกับสิ่งที่เกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศของโลกในอดีต


ข้อมูลอ้างอิง : NASA/JPL
https://science.nasa.gov/saturn/moons/titan/

จำนวนเข้าชม: 306

Continue Reading

Previous: โซลาร์แฟลร์ (solar flare) เปลวสุริยะร้อนแรง แผ่พลังไปทั่วระบบสุริยะได้อย่างไร ?
Next: เรื่องน่ารู้กล้องดูดาว

เรื่องน่าอ่าน

EnceladusTrue_Cassini_960
  • ดาวเสาร์
  • ระบบสุริยะ

เอนเซลาดัส ดวงจันทร์สีขาวที่อาจมีสิ่งมีชีวิตซ่อนอยู่

มนุษย์อวกาศ 10 มิถุนายน 2025
Arsia Mons
  • ข่าวอวกาศ
  • ดาวอังคาร
  • ระบบสุริยะ

นาซาเผยภาพ “อาร์เซีย มอนส์” ภูเขาไฟบนดาวอังคาร โผล่พ้นเมฆยามเช้า

มนุษย์อวกาศ 9 มิถุนายน 2025
Titan-cassini
  • ดาวเสาร์
  • ระบบสุริยะ

เปิดภาพดวงจันทร์ไททันในมุมมองใหม่ เผยพื้นผิวใต้เมฆหมอกหนาทึบ

มนุษย์อวกาศ 6 มิถุนายน 2025

เรื่องยอดนิยม

  • nasa_technology9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (3,925)
  • Buzz-Aldrinบัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,298)
  • CNSA-Moonจีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,813)
  • Lunar-soil-Change5ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,763)
  • Poralis-DawnSpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,626)
Copyright © All rights reserved. | MoreNews by AF themes.