• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content
SPACEMAN

SPACEMAN

ท่องโลกดาราศาสตร์และอวกาศ

Primary Menu
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
เพจ SPACEMAN
  • Home
  • ข่าวอวกาศ
  • โซลาร์แฟลร์ (solar flare) เปลวสุริยะร้อนแรง แผ่พลังไปทั่วระบบสุริยะได้อย่างไร ?
  • ข่าวอวกาศ

โซลาร์แฟลร์ (solar flare) เปลวสุริยะร้อนแรง แผ่พลังไปทั่วระบบสุริยะได้อย่างไร ?

มนุษย์อวกาศ 11 กรกฎาคม 2024
Solar-Flare

ปัจจุบัน ดวงอาทิตย์กำลังมีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงทางพลังงานในระดับสูง โดยส่งผลถึงโลกด้วยพายุสุริยะลูกใหญ่ซึ่งทรงพลังที่สุดในรอบ 20 ปี และยังปะทุโซลาร์แฟลร์ หรือเปลวสุริยะอันร้อนแรง จนส่งผลกระทบแผ่ไปทั่วระบบสุริยะอีกด้วย

เมื่อชาวงเดือนพฤษภาคม 2567 ที่ผ่านมา ผู้ที่อยู่ในภูมิภาคละติจูดสูงของโลก มีโอกาสได้เห็นแสงสีตระการตา ซึ่งมีทั้งแสงสีแดง ชมพู และเขียว ส่องสว่างเรืองรองบนท้องฟ้ายามค่ำคืนอย่างสวยงาม ซึ่งปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้คือ แสงออโรรา (aurora) หรือ “แสงเหนือ-แสงใต้” ที่พบเห็นได้เป็นปกติในในภูมิภาคละติจูดสูงของโลก

แต่แสงออโรราที่เกิดขึ้นในปีนี้กลับทรงพลังเจิดจ้าและสวยงามเพิ่มขึ้นเป็นพิเศษ ผู้คนที่อยู่ในภูมิภาคละติจูดต่ำซึ่งห่างไกลจากขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยเช่นกัน นับว่าเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้ยาก

มูลเหตุที่อยู่เบื้องหลังการเกิดแสงออโรราอันทรงพลังนี้ ก็คือพายุสุริยะที่พัดกระหน่ำโลกอย่างรุนแรง ทำให้อนุภาคมีประจุไฟฟ้ากลุ่มใหญ่จากดวงอาทิตย์ชนปะทะเข้ากับชั้นบรรยากาศโลก ปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของแสงออโรรา แต่ในปีนี้ แสงเหนือ (aurora borealis) ปรากฏให้เห็นได้ไกลขึ้นกว่าเดิม เห็นไกลไปจนถึงทางตอนใต้ของเขตอาร์กติก ส่วนแสงใต้ (aurora australis) ก็ปรากฏขึ้นในทางตอนเหนือที่ห่างไกลจากทวีปแอนตาร์กติกามากขึ้นด้วย

สำหรับอนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์ทำให้เกิดพายุแม่เหล็กโลก (geomagnetic storm) หรือการสั่นไหวของสนามแม่เหล็กที่ห่อหุ้มโลก ในครั้งนี้จัดเป็นพายุในห้วงอวกาศใกล้โลกที่ทรงพลังรุนแรงที่สุดในรอบ 20 ปี ทำให้ผู้คนในบริเวณละติจูดต่ำที่อยู่ห่างไกลจากขั้วโลกเหนือ เช่น กรุงลอนดอนของสหราชอาณาจักร, รัฐโอไฮโอของสหรัฐฯ ก็สามารถชมแสงเหนือด้วยตาตนเองได้อย่างน่าประหลาดใจ


ข้อมูลอ้างอิง : BBC News

จำนวนเข้าชม: 405

Continue Reading

Previous: ดาวเคราะห์ลูกตายักษ์ LHS-1140b สถานที่สมบูรณ์แบบสำหรับสิ่งมีชีวิต!
Next: ดวงจันทร์ไททัน ดวงจันทร์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีชั้นบรรยากาศ

เรื่องน่าอ่าน

Jun2025-18-30
  • ข่าวอวกาศ

คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล จับมือ DSEL จีน ร่วมโครงการสำรวจดวงจันทร์ ILRS

มนุษย์อวกาศ 19 มิถุนายน 2025
Probe3-solar-eclipe
  • ข่าวอวกาศ

โพรบา-3 สร้างปรากฏการณ์สุริยุปราคาเทียมครั้งแรกในอวกาศ เปิดมิติใหม่การศึกษาดวงอาทิตย์

มนุษย์อวกาศ 19 มิถุนายน 2025
Moon hit earth
  • ข่าวอวกาศ

นาซาเผย ดาวเคราะห์น้อย 2024 YR4 มีโอกาสพุ่งชนดวงจันทร์ 4.3% ในปี ค.ศ. 2032

มนุษย์อวกาศ 17 มิถุนายน 2025

Tags

JAXAMarsNASASpaceXกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์กาแล็กซีข้าวอวกาศจักรวาลดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ดาราศาสตร์ดาวพฤหัสบดีดาวอังคารดาวเคราะห์น้อยดาวเสาร์นักบินอวกาศนาซาระบบสุริยะสถานีอวกาศนานาชาติหลุมดำ

เรื่องยอดนิยม

  • nasa_technology9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (4,188)
  • Buzz-Aldrinบัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,325)
  • CNSA-Moonจีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,816)
  • Lunar-soil-Change5ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,769)
  • Poralis-DawnSpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,637)
Copyright © All rights reserved. | MoreNews by AF themes.