• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content
SPACEMAN

SPACEMAN

ท่องโลกดาราศาสตร์และอวกาศ

Primary Menu
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
เพจ SPACEMAN
  • Home
  • ข่าวอวกาศ
  • ดาวเคราะห์ลูกตายักษ์ LHS-1140b สถานที่สมบูรณ์แบบสำหรับสิ่งมีชีวิต!
  • ข่าวอวกาศ

ดาวเคราะห์ลูกตายักษ์ LHS-1140b สถานที่สมบูรณ์แบบสำหรับสิ่งมีชีวิต!

มนุษย์อวกาศ 11 กรกฎาคม 2024
LHS-1140b

ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ที่นักวิทยาศาสตร์พบในปี 2560 เป็นหนึ่งในสถานที่ซึ่งมีความเหมาะสมมากที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิต ที่จะเจริญเติบโตนอกระบบสุริยะ มีแนวโน้มที่ดียิ่งขึ้น และแปลกประหลาดยิ่งกว่านั้นมาก

จากการศึกษาที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่า ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ LHS-1140b ซึ่งอยู่ห่างจากโลก 49 ปีแสง มีขนาดใหญ่กว่าโลก 1.73 เท่า และมีมวลมากกว่าโลก 5.6 เท่า มีมหาสมุทรน้ำแข็งปกคลุมไปทั่ว และมีพื้นที่ลักษณะคล้ายม่านตาเพียงแห่งเดียวประมาณ 4,000 กิโลเมตร หันจ้องมองไปที่ดาวฤกษ์ของมันอยู่ตลอดเวลา

Charles Cadieux นักดาราศาสตร์ฟิสิกส์ จากมหาวิทยาลัยมอนทรีออล กล่าวว่า “ในบรรดาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะเขตอบอุ่นทั้งหมดที่รู้จักกันในปัจจุบันนี้ LHS-1140b เป็นการค้นพบที่ช่วยยืนยันการพบน้ำบนพื้นผิวดาวเคราะห์ที่อยู่นอกเหนือระบบสุริยะของเรา และนี่จะเป็นก้าวสำคัญในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่อาจเอื้อต่อการอยู่อาศัยได้

LHS-1140b โคจรใกล้ดาวฤกษ์ของมันมากกว่าโลกมาก โดยใช้เวลาโคจรรอบดาวฤกษ์เพียง 25 วัน หากดาวฤกษ์ดวงนั้นเป็นเหมือนดวงอาทิตย์ ถือว่าอยู่ใกล้เกินไปสำหรับการมีชีวิต แต่ว่าดาวฤกษ์ดวงนั้นเป็นดาวแคระแดงที่เย็นสลัว ดังนั้นระยะห่างระหว่างดาวฤกษ์กับดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะจึงไม่ได้เย็นจนน้ำผิวดาวแข็งตัวทั้งหมด และก็ไม่ได้ใกล้เกินไปจนไอน้ำระเหยหายไปจนหมด ช่วงคาบการหมุนรอบตัวเองอยู่ในระยะล็อคกับคาบการโคจรของมัน เพื่อให้หันด้านเดียวเข้าหาดาวฤกษ์เสมอ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์เดียวกับที่เราเห็นบนโลกและดวงจันทร์ เราจึงไม่เคยเห็นด้านไกลของดวงจันทร์จากโลกของเรา


ข้อมูลอ้างอิง : Science Alert

จำนวนเข้าชม: 349

Continue Reading

Previous: ผลการแข่งขัน The 5th Kibo Robot Programming Challenge รอบชิงแชมป์ประเทศไทย
Next: โซลาร์แฟลร์ (solar flare) เปลวสุริยะร้อนแรง แผ่พลังไปทั่วระบบสุริยะได้อย่างไร ?

เรื่องน่าอ่าน

Jun2025-18-30
  • ข่าวอวกาศ

คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล จับมือ DSEL จีน ร่วมโครงการสำรวจดวงจันทร์ ILRS

มนุษย์อวกาศ 19 มิถุนายน 2025
Probe3-solar-eclipe
  • ข่าวอวกาศ

โพรบา-3 สร้างปรากฏการณ์สุริยุปราคาเทียมครั้งแรกในอวกาศ เปิดมิติใหม่การศึกษาดวงอาทิตย์

มนุษย์อวกาศ 19 มิถุนายน 2025
Moon hit earth
  • ข่าวอวกาศ

นาซาเผย ดาวเคราะห์น้อย 2024 YR4 มีโอกาสพุ่งชนดวงจันทร์ 4.3% ในปี ค.ศ. 2032

มนุษย์อวกาศ 17 มิถุนายน 2025

Tags

JAXAMarsNASASpaceXกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์กาแล็กซีข้าวอวกาศจักรวาลดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ดาราศาสตร์ดาวพฤหัสบดีดาวอังคารดาวเคราะห์น้อยดาวเสาร์นักบินอวกาศนาซาระบบสุริยะสถานีอวกาศนานาชาติหลุมดำ

เรื่องยอดนิยม

  • nasa_technology9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (4,188)
  • Buzz-Aldrinบัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,325)
  • CNSA-Moonจีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,816)
  • Lunar-soil-Change5ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,769)
  • Poralis-DawnSpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,637)
Copyright © All rights reserved. | MoreNews by AF themes.