• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content

Menu

  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ

คลังเก็บ

  • มิถุนายน 2025
  • พฤษภาคม 2025
  • เมษายน 2025
  • มีนาคม 2025
  • กุมภาพันธ์ 2025
  • มกราคม 2025
  • ธันวาคม 2024
  • พฤศจิกายน 2024
  • ตุลาคม 2024
  • กันยายน 2024
  • สิงหาคม 2024
  • กรกฎาคม 2024
  • มิถุนายน 2024
  • พฤษภาคม 2024
  • เมษายน 2024
  • มีนาคม 2024
  • กุมภาพันธ์ 2024
  • มกราคม 2024
  • พฤศจิกายน 2023
  • ตุลาคม 2023

Calendar

มิถุนายน 2025
จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส. อา.
 1
2345678
9101112131415
16171819202122
23242526272829
30  
« พ.ค.    

หมวดหมู่

  • ข่าวอวกาศ
  • คนไทยในวงการอวกาศ
  • ความรู้รอบตัว
  • ดวงจันทร์
  • ดวงอาทิตย์
  • ดาราศาสตร์
  • ดาวพฤหัสบดี
  • ดาวพุธ
  • ดาวยูเรนัส
  • ดาวศุกร์
  • ดาวอังคาร
  • ดาวเคราะห์แคระ
  • ดาวเนปจูน
  • ดาวเสาร์
  • ตำนานวงการอวกาศ
  • ทั่วไป
  • นักดาราศาสตร์
  • นักบินอวกาศ
  • นักบินอวกาศและบุคคลสำคัญ
  • ระบบสุริยะ
  • ระบบสุริยะของเรา
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
  • หน่วยงานอวกาศ
  • เทคโนโลยีจรวด
  • เทคโนโลยีอวกาศ
  • โครงการอะพอลโล
  • โลก

Copyright SPACEMAN 2025 | Theme by ThemeinProgress | Proudly powered by WordPress

SPACEMAN
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
You are here :
  • Home
  • ดาราศาสตร์ ,
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
  • ภาพที่ดีที่สุดของ Alpha Centauri A และ B
11 มิถุนายน 2025

ภาพที่ดีที่สุดของ Alpha Centauri A และ B

ดาราศาสตร์ . สารานุกรมดาราศาสตร์ Article

ระบบดาวที่ใกล้โลกมากที่สุดคือกลุ่มดาว Alpha Centauri (อัลฟา เซนทอรี) ตั้งอยู่ในกลุ่มดาว Centaurus (เซนเทารัส) ห่างจากโลก 4.3 ปีแสง ระบบนี้ประกอบด้วยดาวคู่ Alpha Centauri A (อัลฟา เซนทอรี เอ) และ Alpha Centauri B (อัลฟา เซนทอรี บี) และดาวแคระแดงจางๆ ชื่อ Alpha Centauri C (อัลฟา เซนทอรี ซี) หรือที่รู้จักกันในชื่อ Proxima Centauri (พร็อกซิมา เซนทอรี)

ภาพถ่านี้แสดงให้เห็นถึงดาว Alpha Centauri A (ทางด้านซ้าย) และ Alpha Centauri B (ทางด้านขวา) ที่ส่องแสงเหมือนไฟหน้ารถขนาดใหญ่ในความมืด ภาพนี้ถ่ายโดยกล้อง WFPC2 ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ถูกใช้งานมากที่สุดของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลในช่วง 13 ปีแรก และถูกแทนที่ในปี 2009 ด้วย WFC3

เมื่อเทียบกับดวงอาทิตย์แล้ว Alpha Centauri A เป็นดาวฤกษ์ประเภท G2 ที่มีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อย ในขณะที่ Alpha Centauri B เป็นดาวฤกษ์ประเภท K1 ที่มีขนาดเล็กกว่าเล็กน้อย ทั้งสองโคจรรอบจุดศูนย์ถ่วงร่วมกันทุกๆ 80 ปี โดยมีระยะห่างต่ำสุดประมาณ 11 เท่าของระยะห่างระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ เนื่องจากดาวทั้งสองดวงนี้ รวมทั้ง Proxima Centauri เป็นดาวที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด พวกมันจึงเป็นดาวที่นักดาราศาสตร์ศึกษามากที่สุด และยังเป็นเป้าหมายหลักในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่อาจมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่

นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบดาวเคราะห์ที่โคจรรอบ Alpha Centauri B โดยใช้เครื่องมือ HARPS (แฮปส์) และเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2016 ได้ประกาศการค้นพบดาวเคราะห์คล้ายโลกในเขตเอื้อต่อการอยู่อาศัยที่โคจรรอบดาว Proxima Centauri


ข้อมูลอ้างอิง: ESA/Hubble & NASA

  • Best image of Alpha Centauri A and B

You may also like

ภาพถ่าย 25 ดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดบนท้องฟ้ายามค่ำคืน ฝีมือคนไทย โดย อ.ตระกูลจิตร จิตตไสยะพันธ์

แอคติวอทช์ สเปกตรัม อุปกรณ์คู่ใจนักบินอวกาศในการติดตามการนอนหลับ

ย้อนรอย 60 ปี อาคารประกอบยานอวกาศ สู่บ้านของจรวดแซตเทิร์น 5

จำนวนเข้าชม: 12
Tags: Alpha Centauri, Alpha Centauri A, Alpha Centauri B, ดาราศาสตร์, ดาวฤกษ์, อัลฟา เซนทอรี

เรื่องยอดนิยม

  • 9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (3,908)
  • บัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,295)
  • จีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,813)
  • ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,762)
  • SpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,625)

© SPACEMAN มนุษย์อวกาศ | Theme by ThemeinProgress | Proudly powered by WordPress