• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content
SPACEMAN

SPACEMAN

ท่องโลกดาราศาสตร์และอวกาศ

Primary Menu
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
เพจ SPACEMAN
  • Home
  • ข่าวอวกาศ
  • ประเทศไทยร่วมลงนาม Artemis Accords!
  • ข่าวอวกาศ

ประเทศไทยร่วมลงนาม Artemis Accords!

มนุษย์อวกาศ 18 ธันวาคม 2024
thailand-artemis-accords-state

วันที่ 16 ธันวาคม 2567 ประเทศไทยได้สร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ในวงการอวกาศ ด้วยการลงนามข้อตกลง Artemis Accords ณ โรงแรมอนันตรา สยาม นำโดย นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พร้อมด้วย Mr. Robert F. Godec เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย, พลตำรวจเอกสุวัฒน์ แจ้งยอดสุข ประธานกรรมการ สทอภ., ดร.ปกรณ์ อาภาพันธุ์ ผู้อำนวยการ GISTDA และผู้แทนจาก NASA

Artemis Accords คือข้อตกลงระดับนานาชาติที่มุ่งเน้นการสำรวจและใช้ประโยชน์จากอวกาศอย่างสันติ โดยมีประเทศชั้นนำอย่างสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา และอีกหลายประเทศร่วมลงนาม ซึ่งประเทศไทยนับเป็นประเทศที่ 51 ของโลก และเป็นประเทศที่ 2 ในอาเซียนที่เข้าร่วมข้อตกลงนี้ ซึ่งประเทศไทยจะได้รับประโยชน์ดังนี้

  • ยกระดับขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีอวกาศของไทย
  • เปิดโอกาสให้นักวิจัย นักศึกษา และผู้ประกอบการไทย ได้เรียนรู้และพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศขั้นสูง
  • เสริมศักยภาพของประเทศไทยในการแข่งขันบนเวทีโลก
  • สร้างความร่วมมือกับ NASA ในโครงการ Artemis เพื่อสำรวจดวงจันทร์และอวกาศ

การลงนามครั้งนี้ถือเป็นก้าวสำคัญที่แสดงถึงความมุ่งมั่นของประเทศไทยในการก้าวสู่ยุคอวกาศ และจะเป็นจุดเริ่มต้นของความร่วมมือระดับนานาชาติที่จะนำพาประเทศไทยไปสู่ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน


เครดิตภาพและข้อมูล: GISTDA

จำนวนเข้าชม: 236

Continue Reading

Previous: สถานีอวกาศนานาชาติ ผ่านหน้าดวงอาทิตย์
Next: จรวดญี่ปุ่นระเบิดกลางอากาศเป็นครั้งที่สองในปีนี้!

เรื่องน่าอ่าน

Jun2025-18-30
  • ข่าวอวกาศ

คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล จับมือ DSEL จีน ร่วมโครงการสำรวจดวงจันทร์ ILRS

มนุษย์อวกาศ 19 มิถุนายน 2025
Probe3-solar-eclipe
  • ข่าวอวกาศ

โพรบา-3 สร้างปรากฏการณ์สุริยุปราคาเทียมครั้งแรกในอวกาศ เปิดมิติใหม่การศึกษาดวงอาทิตย์

มนุษย์อวกาศ 19 มิถุนายน 2025
Moon hit earth
  • ข่าวอวกาศ

นาซาเผย ดาวเคราะห์น้อย 2024 YR4 มีโอกาสพุ่งชนดวงจันทร์ 4.3% ในปี ค.ศ. 2032

มนุษย์อวกาศ 17 มิถุนายน 2025

Tags

JAXAMarsNASASpaceXกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์กาแล็กซีข้าวอวกาศจักรวาลดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ดาราศาสตร์ดาวพฤหัสบดีดาวอังคารดาวเคราะห์น้อยดาวเสาร์นักบินอวกาศนาซาระบบสุริยะสถานีอวกาศนานาชาติหลุมดำ

เรื่องยอดนิยม

  • nasa_technology9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (4,187)
  • Buzz-Aldrinบัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,325)
  • CNSA-Moonจีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,816)
  • Lunar-soil-Change5ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,769)
  • Poralis-DawnSpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,637)
Copyright © All rights reserved. | MoreNews by AF themes.