• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content
SPACEMAN

SPACEMAN

ท่องโลกดาราศาสตร์และอวกาศ

Primary Menu
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
เพจ SPACEMAN
  • Home
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
  • กำเนิดเอกภพ จุดเริ่มต้นของทุกสิ่ง
  • ความรู้รอบตัว
  • สารานุกรมดาราศาสตร์

กำเนิดเอกภพ จุดเริ่มต้นของทุกสิ่ง

มนุษย์อวกาศ 15 กรกฎาคม 2024
begining-of-universe

จุดกำเนิดจักรวาลหรือเอกภพ เป็นเพียงทฤษฎีที่นักวิทยาศาสตร์เสนอขึ้นหลังจากศึกษาพบว่า ดวงดาวหรือกลุ่มดาวในจักรวาลเกิดการเคลื่อนตัวออกห่างจากโลก สิ่งที่ทำให้รู้ว่าเกิดการเคลื่อนตัวนั้น นักวิทยาศาสตร์ตรวจวัดโดยดูจากปรากฏการณ์การเคลื่อนที่ของกลุ่มดาว ถ้ากลุ่มดาวเคลื่อนที่เข้าหาโลกจะให้แสงสีหนึ่ง แต่เมื่อเคลื่อนที่ออกจะให้แสงอีกสีหนึ่ง ก็คือแสงสีแดง หรือที่เรียกว่า “เรดชิฟต์” (redshift)

จากการค้นพบนี้ จึงเกิดคำถามตามมาว่า ทำไมกลุ่มดาวในเอกภพจึงเคลื่อนที่ออกจากเรา ? นักวิทยาศาสตร์ตั้งสมมติฐานและคาดการณ์กันไปต่าง ๆ นานา ส่วนใหญ่คาดว่าน่าจะเกิดจากการระเบิดของอะไรสักอย่าง แล้วมวลสารจากการระเบิดก็ขยายตัวออกไปเรื่อย ๆ ถ้าเปรียบให้เห็นภาพก็ให้นึกถึงเวลาที่เกิดเหตุการณ์ระเบิด จะมีฝุ่นแผ่กระจายจากจุดระเบิดออกไป แล้ววิ่งช้าลงเมื่อหมดแรง

เรื่องการขยายตัวของมวลสารหลังระเบิดนั้นในเชิงทฤษฎีมีหลายแนวทาง บ้างก็ว่าหลังจากระเบิดจะเกิดการกระจายตัวไปแล้วหยุด แล้วหดกลับเข้ามา หรือกระจายตัวไปเรื่อย ๆ เราไม่รู้ว่าความจริงเป็นอย่างไร แต่นักวิทยาศาสตร์ทำงานโดยใช้หลักฐานที่มีอยู่ตอนนี้ตั้งเป็นทฤษฎีการกำเนิดเอกภพไว้ 3 ทฤษฎี คือ

  1. ระเบิดแล้วกระจายออกไปเรื่อย ๆ ไม่มีที่สิ้นสุด ด้วยความเร่งที่ลดลง
  2. ไม่มีการระเบิด เอกภพขยายตัวตลอดเวลา คือ ขยายตัวไปเรื่อย ๆ ด้วยความเร็วคงที่
  3. ระเบิดแล้วสักพักจะหยุด แล้วหดกลับ หรือที่เรียกกันว่า ทฤษฎีบิกแบง (big bang)

ข้อมูลโดย
ดร.บุรินทร์ อัศวพิภพ และ ดร.ชิโนรัตน์ กอบเดช

จำนวนเข้าชม: 901

Continue Reading

Previous: อยากเป็นนักบินอวกาศต้องมีส่วนสูงและน้ำหนักเท่าไหร่ ?
Next: ทฤษฎีบิกแบง การระเบิดครั้งใหญ่

เรื่องน่าอ่าน

Webb Inspects the Heart of the Phantom Galaxy
  • ดาราศาสตร์
  • สารานุกรมดาราศาสตร์

กล้องเจมส์เว็บบ์ส่องใจกลางกาแล็กซีปีศาจ เผยรายละเอียดสุดคมชัด

มนุษย์อวกาศ 1 กรกฎาคม 2025
The young stars of Taurus
  • ดาราศาสตร์
  • สารานุกรมดาราศาสตร์

แหล่งเพาะดาวฤกษ์วัยเยาว์ในกลุ่มดาววัว

มนุษย์อวกาศ 30 มิถุนายน 2025
Moon Farside
  • ดาราศาสตร์
  • สารานุกรมดาราศาสตร์

อีกด้านหนึ่งของดวงจันทร์ที่โลกไม่เคยเห็น

มนุษย์อวกาศ 30 มิถุนายน 2025

Tags

JAXAMarsNASASpaceXกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์กาแล็กซีข้าวอวกาศจักรวาลดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ดาราศาสตร์ดาวพฤหัสบดีดาวอังคารดาวเคราะห์น้อยดาวเสาร์นักบินอวกาศนาซาระบบสุริยะสถานีอวกาศนานาชาติหลุมดำ

เรื่องยอดนิยม

  • nasa_technology9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (4,484)
  • Buzz-Aldrinบัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,371)
  • CNSA-Moonจีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,834)
  • Lunar-soil-Change5ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,802)
  • Poralis-DawnSpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,665)
Copyright © All rights reserved. | MoreNews by AF themes.