• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content
SPACEMAN

SPACEMAN

ท่องโลกดาราศาสตร์และอวกาศ

Primary Menu
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
เพจ SPACEMAN
  • Home
  • ข่าวอวกาศ
  • NARIT จับมือ NASA ใช้กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติ สังเกตการณ์ดาวยูเรนัสบังดาวฤกษ์
  • ข่าวอวกาศ

NARIT จับมือ NASA ใช้กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติ สังเกตการณ์ดาวยูเรนัสบังดาวฤกษ์

มนุษย์อวกาศ 30 พฤศจิกายน 2024
stellar-uranus

เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2567 ที่ผ่านมา สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (NARIT) ได้ร่วมกับ NASA และหน่วยงานนานาชาติ ใช้กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร สังเกตการณ์ปรากฏการณ์ “ดาวยูเรนัสบังดาวฤกษ์” ณ หอดูดาวแห่งชาติ บนดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยสามารถเก็บข้อมูลภาพดาวยูเรนัสขณะบังดาวฤกษ์ รวมถึงดวงจันทร์บริวารขนาดใหญ่ 4 ดวง และวงแหวนบางๆ ของดาวยูเรนัสได้อย่างชัดเจน

การสังเกตการณ์ครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยนานาชาติ โดยประเทศไทยร่วมกับหอดูดาวในญี่ปุ่นและอินเดีย เพื่อศึกษาชั้นบรรยากาศของดาวยูเรนัส โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศเทอร์โมสเฟียร์และสตราโตสเฟียร์ ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการออกแบบภารกิจสำรวจดาวยูเรนัสในอนาคต

ทั้งนี้ กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติ ถือเป็นกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีส่วนสำคัญในการพัฒนางานวิจัยดาราศาสตร์ของไทย โดย NARIT มุ่งมั่นพัฒนาอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ต่างๆ ให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการวิจัยระดับนานาชาติต่อไป

ข้อมูลอ้างอิง : สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (NARIT)

จำนวนเข้าชม: 245

Continue Reading

Previous: สเต็มเซลล์ที่เพาะเลี้ยงในอวกาศ อาจปฏิวัติวงการแพทย์บนโลก!
Next: จากห้องผ่าตัดสู่ห้วงอวกาศ อายู โยเนดะ กับความฝันที่ไม่สิ้นสุด

เรื่องน่าอ่าน

Neuclear-Sat
  • ข่าวอวกาศ

กองทัพอวกาศสหรัฐฯ ทุ่ม 2,400 ล้านเหรียญ จ้างสร้างดาวเทียมควบคุมสั่งการนิวเคลียร์ยุคใหม่

มนุษย์อวกาศ 9 กรกฎาคม 2025
Thea
  • ข่าวอวกาศ
  • โลก

จุดเริ่มต้นที่เอื้อต่อการกำเนิดสิ่งมีชีวิต เมื่อดาวเคราะห์ธีอาพุ่งชนโลก

มนุษย์อวกาศ 9 กรกฎาคม 2025
ESO 591-12
  • ข่าวอวกาศ

ฮับเบิลเผยโฉมกระจุกดาวที่หายไป ส่องอดีตยุคก่อร่างสร้างตัวของกาแล็กซีทางช้างเผือก

มนุษย์อวกาศ 9 กรกฎาคม 2025
Lunio-Gen4

เรื่องยอดนิยม

  • nasa_technology9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (4,683)
  • Buzz-Aldrinบัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,393)
  • CNSA-Moonจีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,855)
  • Lunar-soil-Change5ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,819)
  • Poralis-DawnSpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,689)
Copyright © All rights reserved. | MoreNews by AF themes.