• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content
SPACEMAN

SPACEMAN

ท่องโลกดาราศาสตร์และอวกาศ

Primary Menu
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
เพจ SPACEMAN
  • Home
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
  • รังสีคอสมิกในอวกาศ ภัยอันตรายที่มองไม่เห็น
  • ความรู้รอบตัว
  • สารานุกรมดาราศาสตร์

รังสีคอสมิกในอวกาศ ภัยอันตรายที่มองไม่เห็น

มนุษย์อวกาศ 16 ตุลาคม 2024
CosmicRays

รังสีคอสมิก (Cosmic rays) คือ อนุภาคพลังงานสูงที่พุ่งเข้าใส่โลกจากนอกระบบสุริยะ หรือจากพายุสุริยะ อนุภาคเหล่านี้ส่วนใหญ่ประกอบด้วยโปรตอนและนิวเคลียสของธาตุต่าง ๆ เช่น ฮีเลียม คาร์บอน ออกซิเจน เหล็ก ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้เคียงกับความเร็วแสง แหล่งกำเนิดของรังสีคอสมิกยังคงเป็นปริศนาที่นักวิทยาศาสตร์กำลังศึกษา แต่เชื่อว่ามีที่มาจากแหล่งต่าง ๆ ในจักรวาล  เช่น ดวงอาทิตย์ ซูเปอร์โนวา รวมทั้งหลุมดำในใจกลางของกาแล็กซีอื่น

รังสีคอสมิกเป็นกัมมันตรังสีที่แรงมากในอวกาศและยังส่งผลกระทบต่อโลกและสิ่งมีชีวิตด้วย เช่น ทำให้เกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในดาวเทียม รบกวนระบบการสื่อสารและระบบนำทาง นอกจากนี้ยังส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ โดยเฉพาะนักบินอวกาศและผู้โดยสารที่เดินทางด้วยเครื่องบินเป็นเวลานาน ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับรังสีคอสมิกอาจเพิ่มโอกาสการเกิดโรคมะเร็ง อย่างไรก็ตามความเสี่ยงนี้ยังอยู่ในระดับต่ำ

แม้ว่ารังสีคอสมิกจะมีความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์ แต่ก็เป็นเครื่องมือสำคัญในการศึกษาและทำความเข้าใจจักรวาล ซึ่งการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อลดผลกระทบและใช้ประโยชน์จากรังสีคอสมิกจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง


ข้อมูลอ้างอิง
– ศ. ดร.เดวิด รูฟโฟโล
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

จำนวนเข้าชม: 1,852

Continue Reading

Previous: ดาวพฤหัสบดี ยักษ์ใหญ่ที่ไม่อาจเป็นดาวฤกษ์
Next: เผยโฉมชุดอวกาศแฟชั่นสุดล้ำ! นักบินอวกาศสวม PRADA สำหรับดวงจันทร์ชุดแรกนับตั้งแต่ยุค Apollo

เรื่องน่าอ่าน

ltv-concept
  • ข่าวอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
  • เทคโนโลยีอวกาศ

นาซาเผยเครื่องมือคู่ใจนักบินอวกาศ บนรถ LTV ส่องทะลุพื้นผิวดวงจันทร์

มนุษย์อวกาศ 12 กรกฎาคม 2025
Tanabata-day
  • ความรู้รอบตัว
  • สารานุกรมดาราศาสตร์

วันทานาบาตะ (Tanabata) เทศกาลแห่งดวงดาวและการขอพร

มนุษย์อวกาศ 7 กรกฎาคม 2025
Veggie
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
  • เทคโนโลยีอวกาศ

ดอกไม้แรกบานในอวกาศ ย่างก้าวสำคัญของมนุษยชาติสู่การตั้งถิ่นฐานนอกโลก

มนุษย์อวกาศ 7 กรกฎาคม 2025
Lunio-Gen4

เรื่องยอดนิยม

  • nasa_technology9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (4,756)
  • Buzz-Aldrinบัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,405)
  • CNSA-Moonจีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,856)
  • Lunar-soil-Change5ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,822)
  • Poralis-DawnSpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,701)
Copyright © All rights reserved. | MoreNews by AF themes.