• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content

Menu

  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • ความรู้รอบตัว
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • โครงการอะพอลโล
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ

คลังเก็บ

  • พฤษภาคม 2025
  • เมษายน 2025
  • มีนาคม 2025
  • กุมภาพันธ์ 2025
  • มกราคม 2025
  • ธันวาคม 2024
  • พฤศจิกายน 2024
  • ตุลาคม 2024
  • กันยายน 2024
  • สิงหาคม 2024
  • กรกฎาคม 2024
  • มิถุนายน 2024
  • พฤษภาคม 2024
  • เมษายน 2024
  • มีนาคม 2024
  • กุมภาพันธ์ 2024
  • มกราคม 2024
  • พฤศจิกายน 2023
  • ตุลาคม 2023

Calendar

พฤษภาคม 2025
จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส. อา.
 1234
567891011
12131415161718
19202122232425
262728293031  
« เม.ย.    

หมวดหมู่

  • ข่าวอวกาศ
  • คนไทยในวงการอวกาศ
  • ความรู้รอบตัว
  • ดวงจันทร์
  • ดวงอาทิตย์
  • ดาราศาสตร์
  • ดาวพฤหัสบดี
  • ดาวพุธ
  • ดาวยูเรนัส
  • ดาวศุกร์
  • ดาวอังคาร
  • ดาวเคราะห์แคระ
  • ดาวเนปจูน
  • ดาวเสาร์
  • ตำนานวงการอวกาศ
  • ทั่วไป
  • นักดาราศาสตร์
  • นักบินอวกาศ
  • นักบินอวกาศและบุคคลสำคัญ
  • ระบบสุริยะ
  • ระบบสุริยะของเรา
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
  • หน่วยงานอวกาศ
  • เทคโนโลยีอวกาศ
  • โครงการอะพอลโล
  • โลก

Copyright มนุษย์อวกาศ 2025 | Theme by ThemeinProgress | Proudly powered by WordPress

มนุษย์อวกาศ
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • ความรู้รอบตัว
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • โครงการอะพอลโล
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
You are here :
  • Home
  • ข่าวอวกาศ
  • GISTDA เกาะติดสถานการณ์ คอสมอส 482 (KOSMOS 482) ใกล้ชิด! คาดการณ์ตก 10 พ.ค. นี้ พร้อมเผยโอกาสกระทบไทย
9 พฤษภาคม 2025

GISTDA เกาะติดสถานการณ์ คอสมอส 482 (KOSMOS 482) ใกล้ชิด! คาดการณ์ตก 10 พ.ค. นี้ พร้อมเผยโอกาสกระทบไทย

ข่าวอวกาศ Article

วันที่ 8 พฤษภาคม 2568 สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ หรือ GISTDA ได้มีการแจ้งเตือนความคืบหน้าเกี่ยวกับชิ้นส่วนยานอวกาศคอสมอส 482 (KOSMOS 482) ที่กำลังโคจรเข้าใกล้โลกอย่างต่อเนื่อง

ขณะนี้ยานอวกาศดังกล่าวอยู่ห่างจากพื้นโลกโดยเฉลี่ยประมาณ 138 กิโลเมตร เท่านั้น (ตามแนวการโคจรที่ปรากฏเป็นเส้นสีแดงในภาพประกอบ) และมีแนวโน้มอย่างมากที่จะตกสู่โลกในช่วงวันที่ 10 พฤษภาคม 2568 เวลา 18.56 น. ตามเวลาประเทศไทย

จากการวิเคราะห์ข้อมูลล่าสุด ทีมวิจัย GISTDA คาดการณ์ว่าจุดที่ชิ้นส่วนยานอวกาศคอสมอส 482 จะตกนั้นอยู่ในพื้นที่ของประเทศแคนาดา (ตามจุดสีเหลืองที่แสดงในภาพ) อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ยังคงต้องได้รับการติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจากความแม่นยำในการคาดการณ์จุดตกจะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อชิ้นส่วนยานอวกาศเข้าใกล้พื้นโลกในระยะเฉลี่ยไม่เกิน 130 กิโลเมตร ซึ่งระยะห่างของวัตถุอวกาศกับพื้นโลกมีผลอย่างยิ่งต่อการวิเคราะห์และคาดการณ์

ในการแจ้งเตือนและติดตามสถานการณ์ชิ้นส่วนยานอวกาศตกสู่โลกในครั้งนี้ GISTDA ได้นำระบบ ZIRCON ซึ่งเป็นระบบที่ทีมนักวิจัยของ GISTDA พัฒนาขึ้นมาเอง มาใช้ในการวิเคราะห์ ติดตาม และคาดการณ์การตกของวัตถุอวกาศ โดยระบบนี้ได้รับการออกแบบและพัฒนาตามมาตรฐานสากล ทำให้มั่นใจได้ในความน่าเชื่อถือของข้อมูล

GISTDA ได้ประเมินความเสี่ยงที่ประเทศไทยอาจจะได้รับผลกระทบจากการตกของชิ้นส่วนยานอวกาศคอสมอส 482 ในขณะนี้ พบว่ามีโอกาสเพียง 0.001% เท่านั้น อย่างไรก็ตาม GISTDA จะยังคงติดตามสถานการณ์และพื้นที่ที่มีความเสี่ยงของการตกของชิ้นส่วนยานอวกาศนี้อย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อเฝ้าระวังและแจ้งข้อมูลให้ประชาชนทราบในทันทีหากมีการเปลี่ยนแปลง


ข้อมูลอ้างอิง: GISTDA

You may also like

ภาพใหม่จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ ของ NASA สำรวจ “หน้าผาแห่งจักรวาล”

อินเดียเตรียมส่งมนุษย์ขึ้นสู่อวกาศภายในปี 2027 ตอกย้ำสถานะมหาอำนาจใหม่แห่งวงการอวกาศ

ฮือฮา! เห็น “ลูกไฟสีเขียว” พาดผ่านท้องฟ้าเมืองอ็อกเดน สหรัฐฯ

จำนวนเข้าชม: 35
Tags: Kosmos 482, ZIRCON, คอสมอส 482

เรื่องยอดนิยม

  • 9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (3,527)
  • บัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,206)
  • จีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,772)
  • ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,726)
  • SpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,571)

© SPACEMAN มนุษย์อวกาศ | Theme by ThemeinProgress | Proudly powered by WordPress