• เกี่ยวกับเวิร์ดเพรส
    • WordPress.org
    • เอกสารประกอบ
    • Learn WordPress
    • สนับสนุน
    • ผลตอบรับ
  • Log In
Skip to content
SPACEMAN

SPACEMAN

ท่องโลกดาราศาสตร์และอวกาศ

Primary Menu
  • หน้าแรก
  • ข่าวอวกาศ
  • ระบบสุริยะ
    • ระบบสุริยะของเรา
    • ดวงอาทิตย์
    • ดวงจันทร์
    • ดาวพุธ
    • ดาวศุกร์
    • โลก
    • ดาวอังคาร
    • ดาวพฤหัสบดี
    • ดาวเสาร์
    • ดาวยูเรนัส
    • ดาวเนปจูน
    • ดาวเคราะห์แคระ
  • นักบินอวกาศและนักดาราศาสตร์
    • นักบินอวกาศ
    • นักดาราศาสตร์
    • ตำนานวงการอวกาศ
    • คนไทยในวงการอวกาศ
  • สารานุกรมดาราศาสตร์
    • ดาราศาสตร์
    • โครงการอะพอลโล
    • เทคโนโลยีอวกาศ
    • หน่วยงานอวกาศ
    • เทคโนโลยีจรวด
    • ความรู้รอบตัว
  • ติดต่อมนุษย์อวกาศ
เพจ SPACEMAN
  • Home
  • ข่าวอวกาศ
  • เยาวชนตัวแทนประเทศไทย คว้าเหรียญทองจากการแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ
  • ข่าวอวกาศ

เยาวชนตัวแทนประเทศไทย คว้าเหรียญทองจากการแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

มนุษย์อวกาศ 3 ตุลาคม 2023
unnamed

ขอแสดงความยินดีกับเยาวชนตัวแทนประเทศไทย คว้าเหรียญทอง 3 รางวัล เหรียญเงิน 2 รางวัล และ AbsoluteWinner รางวัลคะแนนสูงสุด จากการแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 2 (IOAA-Jr 2023) ณ เมืองโวลอส สาธารณรัฐเฮเลนิก

 รายชื่อเยาวชนผู้ได้รับรางวัล

1. เด็กชายชยพล นนทสูติ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
รางวัลเหรียญทอง และรางวัล Absolute Winner

2. เด็กชายอภิวิชญ์ ชาญณรงค์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
รางวัลเหรียญทอง

3. เด็กชายนันท์ธร กิจผดุง โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน
รางวัลเหรียญทอง

4. เด็กชายณัฐนันท์ เจนยงศักดิ์ โรงเรียนแสงทองวิทยา
รางวัลเหรียญเงิน

5. เด็กชายปิติ ธรรมโกวิท โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
รางวัลเหรียญเงิน

สำหรับการแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 2 (IOAA-Jr 2023) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 24-30 กันยายน 2566 ณ เมืองโวลอส สาธารณรัฐเฮเลนิก มีตัวแทนจาก 14 ประเทศเข้าร่วมแข่งขัน สำหรับประเทศไทยอาจารย์ผู้นำทีม ได้แก่ ผศ.ดร. มนต์สิทธิ์ ธนสิทธิโกศล จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และรองหัวหน้าทีม ได้แก่ ดร. นารีมัส เจะและ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี และนอกจากนี้ยังมีอาจารย์ผู้ร่วมสังเกตการณ์ ได้แก่ ดร. มติพล ตั้งมติธรรม จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) และอาจารย์กุลชยา พิทยาวงศ์ฤกษ์ จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย


 ขอขอบคุณข้อมูลและภาพจากเพจ มูลนิธิ สอวน.

จำนวนเข้าชม: 660

Continue Reading

Next: Live Streaming การส่งดาวเทียม THEOS-2 ขึ้นสู่วงโคจร

เรื่องน่าอ่าน

Jun2025-18-30
  • ข่าวอวกาศ

คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล จับมือ DSEL จีน ร่วมโครงการสำรวจดวงจันทร์ ILRS

มนุษย์อวกาศ 19 มิถุนายน 2025
Probe3-solar-eclipe
  • ข่าวอวกาศ

โพรบา-3 สร้างปรากฏการณ์สุริยุปราคาเทียมครั้งแรกในอวกาศ เปิดมิติใหม่การศึกษาดวงอาทิตย์

มนุษย์อวกาศ 19 มิถุนายน 2025
Moon hit earth
  • ข่าวอวกาศ

นาซาเผย ดาวเคราะห์น้อย 2024 YR4 มีโอกาสพุ่งชนดวงจันทร์ 4.3% ในปี ค.ศ. 2032

มนุษย์อวกาศ 17 มิถุนายน 2025

Tags

JAXAMarsNASASpaceXกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์กาแล็กซีข้าวอวกาศจักรวาลดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ดาราศาสตร์ดาวพฤหัสบดีดาวอังคารดาวเคราะห์น้อยดาวเสาร์นักบินอวกาศนาซาระบบสุริยะสถานีอวกาศนานาชาติหลุมดำ

เรื่องยอดนิยม

  • nasa_technology9 เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ที่มาจากการสำรวจอวกาศ (4,188)
  • Buzz-Aldrinบัซ อัลดริน (Buzz Aldrin) นักบินอวกาศนาซา (3,325)
  • CNSA-Moonจีนเตรียมพร้อมสำหรับภารกิจอวกาศห้วงลึก หลังจากเก็บตัวอย่างด้านไกลของดวงจันทร์ (2,816)
  • Lunar-soil-Change5ดินดวงจันทร์จากยานฉางเอ๋อ 5 ในงาน อว. แฟร์ 22-28 ก.ค. 67 (2,769)
  • Poralis-DawnSpaceX กำหนดปล่อยภารกิจ Polaris Dawn จะมีการเดินอวกาศ (Spacewalk) โดยเอกชนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ (2,637)
Copyright © All rights reserved. | MoreNews by AF themes.